วิเคราะห์บทความวิชาการ ครั้งที่ 2


การจัดการศึกษาเชิงสถาบันที่เป็นทางการ ไปสู่ด้านอุปสงค์ (Demand) ที่สภาวการณ์เปลี่ยนแปลงของโลกด้านต่างๆเป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะด้านเทคโนโลยีและการสื่อสารส่งผลให้สังคมกลายเป็นสังคมยุคดิจิทัลอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้  ประเทศไทยได้ให้ความสำคัญของการเรียนรู้ตลอดชีวิต เห็นได้จากวิสัยทัศน์ในกรอบแนวคิด กล่าวว่า การศึกษาจะไม่สิ้นสุดลงที่การสอนและการได้รับประกาศนียบัตรจากสถาบันการศึกษา แต่ควรจะเป็นกระบวนการต่อเนื่องไปตลอดชีวิต การเรียนรู้ ตลอดชีวิตแบบเดิมของครู ก่อนที่จะมีการนำเทคโนโลยีเข่ามาช่วยในการค้นหาความรู้ ส่วนใหญ่จะเป็นการค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ เอกสาร ตำรา หรือการได้รับคำแนะนำจากผู้รู้ การเรียนรู้ตลอดชีวิต  (Lifeiong learning) กับการศึกษาตลอดชีวิต เป็นคำที่ใกล้เคียงกันมาก ซึ่งอาชัญญา รัตนอุบล กล่าวว่า ทั้งสองคำนี้มีความหมายไปในทิศทางเดียวกัน รมถึงนัยสำคัญของผู้นำเสนอแนวคิดต่างๆที่เกิดขึ้น
1.แหล่งทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดความหมายการจัดทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้คำปรึกษา การใช้ และการปรับตัวโดยตัวชุมชนของผู้ใช้เพื่อให้วัตถุประสงค์ที่มี
2.สื่อสังคมออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต สื่อสังคมออนไลน์ เป็นช่องทางในการแลกเปลี่ยนความคิดการเรียนรู้ การแบ่งปันข้อมูลที่ง่ายที่สุดสำหรับยุคดิจิทัล
การพัฒนาทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของครูการเรียนรู้ด้วยการนำตัวเองเป็นกระบวนการที่บุคคลใช้ความคิดริเริ่มโดยไม่ได้รับความช่วยเหลือจากผู้อื่นในการวิเคาระห์ความต้องการในการเรียนรู้ แหล่งข้อมูลในการเรียนรู้ที่เหมาะสมและการประเมินผลการเรียนรู้ การพัฒนาครูประจำการซึ่งเป็นครูที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นครูมานานแล้วด้วยความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงบริบทสถานศึกษา สิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดนวัตกรรมการศึกษา เช่น ลักษณะที่ 1 เกิดจากการความใฝ่รู้ที่เกิดขึ้นจริงตระหนักรู้ภายในตนเองของครู หมายถึง ประสบการณ์ข้อมูลที่หลากหลาย ลักษณะที่ 2 เกิดจากกระบวนการผลักดัน การวางผูกโยงสิ่งที่ต้องการทางสังคม การวางเงื่อนไขด้วยการยอมรับและเรียนรู้เป็นเรื่องการให้รางวัลและการลงโทษ ส่งผลให้เกิดการยอมรับการเปลี่ยนแปลง เป็นต้น การพัฒนาครูสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต ครูที่อาจจะกล่าวได้ว่าเป็นครูที่เป็นเจ้าของพื้นที่ เป็นรุ่นที่มีความหมายพร้อมในด้านทัศนคติ และทักษะพื้นฐานอยู่แล้ว การนำเสนอแนวทางการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อนำการแก้ไขปัญหาทางการศึกษา การเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นทักษะที่จำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับครูในโลกอนาคต เป็นสิ่งที่ระบบการผลิตครู จำเป็นต้องการสร้างสมรรถนะนี้ให้เกิดขึ้นกับครูรุ่นใหม่ให้ได้อย่างยิ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้และพร้อมๆกับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร ก็นับวันจะเข้ามาเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อการดำรงชีวิต เสมือนหนึ่งเทียบเท่ากับปัจจัยที่สำคัญต่อการดำรงชีวิต ครู เป็นบุคคลที่โดยบทบาทหน้าที่จะต้องรอบรู้และอยู่ ณ ตำแหน่งขอบแดนขององค์กรความรู้ ลดเวลาการเดินทางไปสู่สุดขอบพรหมแดนของความรู้ได้เร็วที่สุด นิสัยการเรียนรู้ตลอด
กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติให้การจัดการศึกษายึดหลักการที่สำคัญประการหนึ่งคือ เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน ซึ่งเป็นการศึกษาที่ผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
“การศึกษาตลอดชีวิต” หมายความว่า การศึกษาที่จัดให้กับประชาชน ทั้งการศึกษาในระบบ  การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย หรือการศึกษาที่ผสมผสานการศึกษาทั้งสามรูปแบบที่เหมาะสมกับบุคคล อายุ พื้นฐานการศึกษา อาชีพ ความสนใจ และสภาพแวดล้อมของผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
“การเรียนรู้ตลอดชีวิต” หมายความว่า กระบวนการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาที่เกิดขึ้นในตัวบุคคล  อันเป็นผลมาจากการได้รับความรู้ ทักษะ หรือประสบการณ์จากการศึกษา หรือจากกิจกรรมในวิถีชีวิตที่สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิตต้องมีมุมมองแบบองค์รวม (Comprehensive View) ที่ครอบคลุมกิจกรรมการเรียนรู้ทุกด้าน โดยมีเป้าหมายที่จะปรับปรุงความรู้และความสามารถในการแข่งขันของบุคคล ที่ปรารถนาเข้าร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้คุณลักษณะ 4 ประการของแนวคิดการเรียนรู้ ได้แก่1.         มีมุมมองอย่างเป็นระบบ สิ่งนี้คือคุณลักษณะที่พิเศษที่สุดของการเรียนรู้ตลอดชีวิต กรอบแนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตของอุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply) ของโอกาสการเรียนรู้      ที่เป็นส่วนหนึ่งของระบบที่มีความเชื่อมโยงกัน ซึ่งครอบคลุมวงจรชีวิตทั้งหมด และประกอบด้วยรูปแบบ   ต่าง ๆ ของการเรียนรู้ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
2.มีผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มีการเปลี่ยนจากมุ่งเน้นด้านอุปทาน (Supply) เป็นศูนย์กลาง ในรูปแบบตอบสนองความต้องการของผู้เรียนเป็นหลักตั้งแต่เกิดจนตาย

นางสาวธนภรณ์ ศรีภู่
รหัสนักศึกษา 61181010033


ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บทที่ 9 วรรณคดีเรื่องพิกุลทอง

วิเคราะห์บทความครั้งที่ 3